เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2565 ที่ผ่านมา พลเรือเอก สมประสงค์ นิลสมัย ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้ไปเป็นประธานในพิธีพระราชทานเพลิงศพ นาวาตรี ประทีป ปัญจะชล กำลังพลเรือหลวงประแส วีรชนในสงครามเกาหลี เมื่อปี 2493 ณ ฌาปนสถานวัดสัตหีบ ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ถือเป็นการปิดฉากอีกหนึ่งวีรชนของกองทัพเรือ ไทย
ประวัติศาสตร์ทางทหาร
นักบินสหรัฐฝึกนักบิน OV-10C ไทย และภารกิจทิ้งระเบิดโรงงานเฮโรอีนในพม่า – เรื่องจาก The Drive
The Drive เผยแพร่เรื่องราวของอดีตนักบิน F-4G และ OV-10A ที่ชื่อ Danno ซึ่งเคยมาฝึกให้กับนักบินของกองทัพอากาศไทย และภารกิจลับของกองทัพอากาศไทยในการทิ้งระเบิดโรงงานผลิตยาเสพติดในพม่า
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
น่าเสียดายที่บทเรียนของไทยเราไม่ชอบสอนเรื่องประวัติศาตร์ร่วมสมัย อาจจะเพราะไม่อยากให้มันกระทบกับอะไรสักอย่าง หรืออาจจะเพราะเราไม่กล้าพอที่จะเปิดโอกาสให้มีการพูดถึงและถกเถียงว่าเหตุการณ์ในประวัติศาตร์ร่วมสมัยนั้นเป็นมาอย่างไร และเกิดอะไรขึ้นบ้าง
อธิบายง่าย ๆ และทำความเข้าใจ ทำไมอัฟกานิสถาน ถึงเกิดสงคราม – สรุปจากคลับเฮ้าส์ของ TAF
จากกรณีที่ Youtuber ท่านหนึ่งของไทย (#IRoamAlone) ได้เดินทางไปเที่ยวที่ประเทศ #อัฟกานิสถาน เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาใน TAF MilTalk ครั้งที่ 32 ใน #Clubhouse ของเรา เราได้เชิญคุณปั๊บ พงศ์ศรณ์ ภูมิวัฒน์ นักเขียนชื่อดังจากเพจ The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์สมัยใหม่ การต่างประเทศ สงคราม และความขัดแย้ง มาให้ความรู้ว่า จริง ๆ แล้วประเทศอัฟกานิสถานมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร สงครามที่เกิดขึ้นเกิดจากอะไร มีใครเป็นใครบ้างในความขัดแย้งนี้ ตาลีบันคือใคร และทำไมอัฟกานิสถานถึงได้ชื่อว่า Graveyard of Empires หรือสุสานของจักรวรรดิต่าง ๆ
กษัตริย์แห่งเยรูซาเลมผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อน และเมือง Sheikh Jarrah ที่นำอิสราเอลกับปาเลสไตน์เข้าสู่การรบในวันนี้
วันนี้เราจะมาพูดเรื่องกษัตริย์ที่ทรงพระประชวรครับ ใช่แล้วครับ ……………… เรากำลังพูดถึงกษัตริย์เรื้อนหรือ Leper King แห่งนครเยรูซาเล็มนี่เอง (แอดมินรอดไป แหะ ๆ)
ทอ. ปลดประจำการ L-39ZA/ART
กองทัพอากาศทำพิธีปลดประจำการเครื่องบินขับไล่และฝึกแบบที่ 1 (บ.ขฝ.1) หรือ L-39ZA/ART ฝูงสุดท้ายทั้งหมดแล้วในวันนี้ที่กองบิน 41 เชียงใหม่ ที่ตั้งของฝูงบิน 411 ซึ่งใช้งาน L-39ZA/ART โดยมีผู้บัญชาการทหารอากาศเข้าร่วมพิธี
“ตายหมู่ที่ตากใบ” ประวัติศาสตร์เลือดในเหตุการณ์สามจังหวัดชายแดนใต้
จากเมื่อวานนี้ใน clubhouse ที่ ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีได้เข้ามาพูดคุยและแลกเปลี่ยนกับผู้ใช้งาน ClubhouseTH ซึ่งมีคำถามหนึ่งของผู้ใช้งานที่ถามเรื่องตากใบ และดร.ทักษิณตอบกลับเพียงสั้น ๆ ว่า ผมจำไม่ได้ แต่เสียใจ รวมถึง นพ.สุรพงศ์ สืบวงศ์ลี ได้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้น โดยยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น แต่กล่าวว่ากองทัพดูแลทั้งหมด รัฐบาลไม่เกี่ยว วันนี้ TAF ขอย้อนอดีตสั้น ๆ ถึงโศกนาฎกรรมที่ตากใบ ซึ่งเป็นรอยด่างพร้อยที่สำคัญที่สุดเหตุการณ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ของรัฐบาลไทยและกองทัพไทยกันครับ
ย้อนอดีต! ปฏิบัติการโปเชนตง เมื่อกองทัพไทย เปิดปฏิบัติการช่วยคนไทยจากกัมพูชา
29 มกราคม 2546 เกิดเหตุจลาจลในกรุง พนมเปญ ของกัมพูชา จา…
Continue reading ➞ ย้อนอดีต! ปฏิบัติการโปเชนตง เมื่อกองทัพไทย เปิดปฏิบัติการช่วยคนไทยจากกัมพูชา
เรือตอร์ปิโดใหญ่แห่งราชนาวีไทย “….ใหญ่กี่ตันต้องสู้กัน ฟาดฟันให้รู้ …”
45 นาทีแห่งการรบ ฉากแรกของยุทธนาวียุคใหม่ในประวัติศาสตร์ไทย ก่อนจะถึงการประจัญบานของเรือหลวงธนบุรีต่อกองเรือฝรั่งเศส เรือหลวง 2 ลำ คือผู้เปิดการการต่อตีเรือรบของชาติมหาอำนาจในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 ในวาระการครบรอบ 80 ปีของการรบครั้งสำคัญนี้ TAF ขอนำเสนอเรื่องราวบันทึกการรบขอ งร.ล. ชลบุรี และ ร.ล.สงขลา เรือตอร์ปิโดใหญ่ของกองทัพเรือ จากการเรียบเรียงบทความของคุณ Nye Nava ในฐานะเรือรบหลวงที่ร่วมรบกับเรือหลวงธนบุรีที่เกาะช้าง จนเป็นประจักษ์พยานแห่งการทำหน้าที่ปกป้องน่านน้ำไทยจนวาระสุดท้าย และยังจมอยู่ใต้อ่าวไทยในปัจจุบัน
ชัค ยีเกอร์ มนุษย์ผู้ทำลายกำแพงเสียงเสียชีวิตแล้ว
พลอากาศจัตวา ชัค ยีเกอร์ มนุษย์คนแรกที่ทลายกำแพงเสียง เ…
Continue reading ➞ ชัค ยีเกอร์ มนุษย์ผู้ทำลายกำแพงเสียงเสียชีวิตแล้ว