ผบ.ทร.ให้สัมภาษณ์สถาบันการทัพเรือสหรัฐ “จะรับมือกับงบที่จำกัดอย่างไร”

ในทุกปี วารสาร Proceeding ของสถาบันการทัพเรือของสหรัฐจะตั้งคำถามและสอบถามความเห็นจากผู้บัญชาการทหารเรือทั่วโลกถึงประเด็นต่าง ๆ ในรอบปี โดยในปีนี้ สถาบันการทัพเรือสหรัฐสอบถามว่า “เมื่อทุกกองทัพเรือจะต้องรับมือกับข้อจำกัดด้านงบประมาณและทรัพยากร กองทัพเรือของคุณจะหาสมดุลระหว่างขนาดของกองทัพ (จำนวนของเรือ อากาศยาน กำลังพล ฯลฯ) และขีดความสามารถของกำลังรบในด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างไร?”

ด้านล่างนี้คือคำตอบที่ผู้บัญชาการทหารเรือไทยตอบและเผยแพร่ในเว็บไซต์ของสถาบันการทัพเรือสหรัฐ ร่วมกับความเห็นของผู้บัญชาการทหารเรือทั่วโลกครับ

สามารถเข้าไปอ่านฉบับเต็มได้ที่ https://www.usni.org/magazines/proceedings/2021/march/international-commanders-respond?fbclid=IwAR1yuBW8YHdK-bntYVXrmcDEMNwCXkrVCDZsmjyFivD3q7aMhHuxC4jpMno

THAILAND
Admiral Chatchai Sriworakan,
Commander-in-Chief, Royal Thai Navy

The current global situation continues to be challenging, especially considering the COVID-19 pandemic crisis and other nontraditional threats. The Royal Thai Navy (RTN) is focusing on its primary missions to maintain the security and territorial integrity of the country and its people, protect and conserve marine assets, preserve coastal peace and order, and ensure the safety of maritime transport.

สถานการณ์ทั่วโลกยังคงมีความท้าทาย โดยเฉพาะวิกฤตการแพร่ระบาดของโควิด-19 และภัยคุกคามแบบใหม่อื่น ๆ กองทัพเรือไทยมุ่งความสนใจไปที่ภารกิจหลักในการรักษาความมั่นคงและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศและประชาชน ปกป้องและคุ้มครองสินทรัพย์ทางทะเล รักษาความสงบเรียบร้อยตามชายฝั่ง และดำรงค์ไว้ซึ่งความปลอดภัยในการคมนาคมทางทะเล

Using our force development philosophy, “The power of unity, the power of the Navy,” the RTN seeks to emphasize more effective use of current resources and targeted capability acquisition to improve maritime security. Moreover, the RTN employs a regional approach by partnering closely with neighboring countries to maintain peace and stability in our immediate region, carry out humanitarian assistance and disaster relief operations, and remain prepared to meet and resolve all challenges within the current structure of forces, personnel, and finite budgetary resources.

ด้วยการใช้ปรัชญาการพัฒนากำลังรบของเราคือ “พลังสามัคคี พลังราชนาวี” กองทัพเรือพยายามให้ความสำคัญกับทรัพยากรในปัจจุบันและการสร้างขีดความสามารถที่ต้องการเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางทะเล นอกจากนั้น กองทัพเรือยังเข้าร่วมไปมีบทบาทในภูมิภาคในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาคของเรา ดำรงค์ปฏิบัติการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและภัยพิบัติธรรมชาติ และยังคงเตรียมพร้อมเพื่อรับมือและแก้ไขความท้าทายทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้างกำลังรบ กำลังพล และงบประมาณที่จำกัดในปัจจุบัน

The key element to drive the RTN forward is Thailand’s National Strategy (2018–37), which is being implemented to ensure the country achieves its vision of becoming a developed country with security, prosperity, and sustainability, in accordance with King Rama IX’s philosophy of sufficiency economy, with the ultimate goal of increasing the happiness and well-being of all Thais.

องค์ประกอบสำคัญที่ผลักดันกองทัพเรือไปข้างหน้าคือยุทธศาสตร์ชาติ (ปี 2018-2037) ซึ่งกำลังถูกใช้งานเพื่อทำให้แน่ใจว่าประเทศไทยจะกลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และเป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ด้วยเป้าหมายหลักคือการทำให้คนไทยทั้งมวลมีความสุขและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

Because of budget constraints, the RTN aims to use all existing assets to accomplish its mission efficiently and effectively. Currently, it is becoming increasingly self-sufficient in several ways. For example, the RTN has demonstrated its capacity to build its own offshore patrol vessel, His Thai Majesty’s Ship Krabi, while continuing to develop and construct its own drones and unmanned surface vehicles to minimize the use of surveillance aircraft and ships.

ด้วยงบประมาณที่จำกัด กองทัพเรือมุ่งหวังที่ใช้สิ่งที่มีอยู่ทั้งหมดเพื่อทำให้ภารกิจประสบความสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพล ในปัจจุบัน กองทัพเรือสามารถพึ่งพาตนเองได้ในหลายด้าน ตัวอย่างเช่น กองทัพเรือได้แสดงให้เห็นขีดความสามารถในการสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งของตนเองคือเรือหลวงกระบี่ ในขณะที่ยังพัฒนาและสร้างอากาศยานไร้นักบินและเรือไร้คนขับเพื่อลดการใช้อากาศยานและเรือในการลาดตระเวน

The maritime environment reflects the endless tempo of technology introduction, which leads to greater requirements for intellectual agility to ensure our armed forces remain competitive in the mid 21st century. To understand and cope with the modern technological context, it is vital to keep empowering our personnel with additional professional military education. This includes a collaborative environment—a peer-to-peer knowledge exchange that allows RTN personnel to work productively, particularly regarding maritime joint operations to safeguard regional maritime security. Such operations would undoubtedly further our ability to collaborate in the pursuit of good order at sea. Regional resilience can be seen as a cornerstone to achieve comprehensive stability.

สภาวะแวดล้อมทางทะเลสะท้อนจังหวะการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างไม่สิ้นสุด ซึ่งนำไปสู่ความจำเป็นที่จะต้องมีองค์ความรู้ที่อ่อนตัวเพื่อทำให้แน่ใจว่ากองทัพของเราจะยังคงสามารถแข่งขันได้ในกลางทศวรรตที่ 21 เพื่อเข้าใจและรับมือกับบริบทของเทคโนโลยีสมัยใหม่ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาบุคคลากรของเราให้มีความรู้ในวิชาชีพของทหาร ซึ่งรวมถึงการการสร้างสภาวะแวดล้อมในการแลกเปลี่ยนความรู้แบบตัวต่อตัวเพื่อให้กำลังพลของกองทัพเรือสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านปฏิบัติการร่วมทางทะเลเพื่อรักษาความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาค ซึ่งไม่ต้องสงสัยเลยว่าปฏิบัติการนี้จะเพิ่มความสามารถของเราในการร่วมมือเพื่อสร้างระเบียบในทะเล การมีความยับยั้งชั่งใจในภูมิภาคนั้นเป็นเสาหลักที่จะทำให้เกิดเสถียรภาพโดยรวมได้

Overall, maintaining and sustaining all of the RTN’s assets with efficiency provides it with confidence to support the National Security Policy, which aims at achieving national security and public satisfaction, with primary emphasis on national environmental management and promoting security, democracy, sovereignty, peace, and orderliness at the national, social, and community levels.

โดยรวมแล้ว การรักษาและดำรงค์ทรัพย์สินของกองทัพเรือทั้งหมดอย่างมีประสิทธิภาพนั้นสร้างความมั่นใจในการสนับสนุนนโยบายการป้องกันประเทศของชาติ ด้วยเป้าหมายในการรักษาความมั่นคงของชาติและความพึงพอใจของสาธารณะชน ด้วยการให้ความสำคัญหลักในการจัดการสภาวะแวดล้อมของชาติและสนับสนุนความมั่นคง ประชาธิปไตย อธิปไตย สันติภาพ และระเบียบในระดับชาติ สังคม และชุมชน

ใส่ความเห็น

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

Connecting to %s

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.